บันทึกครั้งที่ 16
Portfolio for science experiences management for Early childhood term 1 year 2013.
วันพุธที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2556
Note 15
บันทึกครั้งที่ 15
วันที่ 23 กันยายน 2556
ขั้นตอนการสาธิต
1."เด็กๆเห็นอะไร...บ้างคะ"
2."เราจะนำ...ไปทำอาหารอะไรได้บ้าง"
3."วันนี้เราจะมาทำข้าวผัดกัน เด็กรู้ไหมคะว่าต้องใส่อะไรก่อน"
4.ให้เด็กลงมือทำร่วมกับครู
5.ให้เด็กสังเกตสีของอาหาร "ถ้าครูใส่...ลงไปในกระทะ เด็กๆคิดว่าจะเกิดอะไรขึ้น"
6.ครูิอธิบาย...
Note 8
บันทึกครั้งที่ 8
วันที่ 17 สิงหาคม 2556
***เรียนชดเชยวันที่ 12 สิงหาคม***
Note 5
์Note 14
Note 13
บันทึกครั้งที่ 13
วันที่ 8 กันยายน 2556
เนื่องจาก มี นศ. มาเรียนน้อย อาจารย์จึงเช็คชื่อ เละให้คำเเนะนำในการทำสื่อชิ้นต่างๆที่เพื่อนส่ง เเละให้กลับไปแก้ไขปรับปรุง
Note 3
วันอังคารที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
Note 2
บันทึกครั้งที่ 2
วันที่ 24 มิถุนายน 2556
เเบ่งกลุ่มเเลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่องวิทยาศาสตร์ |
ความหมายของวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาเรื่องสิ่งเเวดล้อมตามธรรมชาติโดยทั่วไป ประกอดด้วย ตัวความรู้เเละกระบวนที่ใช้ในการค้นหาความรู้อย่างมีระบบ เพื่อนำมาปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์
เเนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
เกรก ได้ให้เเนวคิดพื้นฐาน 5 ประการ ไว้ดังนี้
1.การเปลี่ยนแปลง (Change)ทุกสิ่งบนโลกมีการเปลี่ยนเเปลงอยู่ตลอดเวลา เช่น น้ำหนัก เวลา เเละสิ่งอื่นๆที่อยู่รอบตัว
2.ความเเตกต่าง (Variety) ทุกสิ่งมีความคล้ายคลึงกันเเต่ไม่เหมือนกัน
3.การปรับตัว (Adjustment) ทุกสิ่งจะมีการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งเเวดล้อม เช่น จิ้งจกเปลี่ยนสีตามผนังที่เกาะ
4.การพึ่งพาอาศัย (Muturit) ทุกสิ่งบนโลกจะต้องพึ่งพาอาศัยกัน เช่น คนกับเงิน นกเอี้ยงกับควาย
5.ความสมดุล (Equitibrium) ทุกสิ่งบนโลกจะต้องต่อสู้เพื่อรักษาชีวิตเเละปรับตัวให้ได้ดุล
วิธีการทางวิทยาศาสตร์
1.ขั้นการกำหนดปัญหา
2.ขั้นการตั้งสมมติฐาน
3.ขั้นการทดลอง
4.ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูล
5.ขั้นสรุปผลเเละนำไปใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ การค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.การสังเกต
2.การจำเเนกประเภท
3.การวัด
4.การสื่อความหมาย
5.การลงคามเห็น
6.การหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับเวลา
7.การคำนาณ
อากาศมหัศจรรย์
อากาศร้อนเบากว่าอากาศเย็น |
- อากาศร้อนจะลอยขึ้นด้านบนเสมอ
- อากาศภายในลูกโป่งสามารถดันหนังสือให้ลอยขึ้นได้
- อากาศนิ่งมีเเรงดันสูงกว่าอากาศที่เคลื่อนที่
- อากาศใต้ปีกเคลื่องบินมีเเรงดันสูงทำให้เครื่องบินลอยได้
- อากาศเย็นมีเเรงดันสูงกว่าอากาศร้อน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)